Table of contents:
1. ความเป็นมา -- 2. สถานที่ตั้ง -- 3. จุดประสงค์ -- 4. หลักสูตรแขนงวิชาและระบบการศึกษา -- 4.1 ช่างเทคนิค -- ก. รับจากผู้สำเร็จ มศ.5 สายสามัญ หลักสูตร 3 ปี -- ข. รับจากผู้สำเร็จมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ... -- 4.2 ครูช่างระดับปริญญา หลักสูตร 2 ปี -- 4.3 วิศวกร หลักสูตร 2 ปี -- 4.4 สถาปนิก หลักสูตร 2 ปี -- 4.5 วิศวกรปฏิบัติ หลักสูตร 2 ปี -- 5. หลักการจัดการศึกษา -- 5.1 การสนองความต้องการของชาติ -- ก. รายได้เข้าประเทศน้อย รายจ่ายออกนอกประเทศมาก -- ข. จำนวนงานที่ดีมีไม่พอเพียงสำหรับประชากรปัจจุบันและประชากรที่กำลังเพิ่มขึ้น -- 5.2 ลักษณะของวิศวกรของสถาบันฯ -- 5.2.1 วิศวกรปฏิบัติ ตามแบบผู้ที่สำเร็จจาก Ingenieur Schule จากเยอรมนี เป็นวิศวกรประเภทที่บริษัทต่างประเทศมักส่งมาติดตั้งและเริ่มเดินเครื่องให้โรงงานต่างๆ ในประเทศไทย -- 5.2.2 วิศวกร เรียนวิชาทฤษฎีและประลองครบถ้วน -- 5.3 การมี 3 สถานที่ตั้ง -- อุปกรณ์การศึกษา ทุนการศึกษา และอุปกรณ์การสอนของต่างประเทศ วิทยาลัยเทคนิค ธนบุรี ได้รับความช่วยเหลือจาก UNESCO/UNDP วิทยาลัยโทรคมนาคม จากญี่ปุ่น และวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ จาก เยอรมัน -- 5.4 มาตรฐานของผู้สำเร็จจากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า -- 6. การวิจัย -- 7. อุปกรณ์การศึกษา -- 8. อาจารย์ประจำ -- วุฒิปริญญาเอก 8 คน-- ปริญญาโททางภาษาศาสตร์ ครุศาสตร์ และอื่นๆ -- วุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเท่าอีก 148 คน -- 9. นักศึกษา -- ในหลักสูตรช่างเทคนิค ฝึกหัดครู วิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ รวม 2,691 คน -- 10. โครงการขยายงาน